FAQ คำถามที่แม่อยากรู้

  1. การทำ MRI ในแต่ละครั้งมักจะใช้เวลาในการตรวจครึ่งชม.ขึ้นไป โดยตลอดเวลาในการตรวจนั้น เด็กจำเป็นจะต้องนอนนิ่ง ๆ อยู่ในเครื่อง MRI เพื่อให้ได้ภาพการตรวจด้วยMRI มีความชัดเจน มากที่สุด

  2. สำหรับเด็กที่อาจจะยังไม่สามารถควบคุมตัวเองได้คงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในการตรวจในบางกรณีจึงมีความจำเป็นต้องใช้ยานอนหลับหรือการดมยาสลบเพื่อให้การตรวจเป็นไปด้วยความราบรื่น ในการที่จะให้ยาในเด็กนั้น จะต้องมีการเซ็นยินยอมจากตัวผู้ปกครองของเด็กเสียก่อนดังนั้นผู้ปกครองของเด็กที่จะเข้ารับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมาด้วยทุกครั้ง

  3. ระบบประสาท เช่น สมอง ต่อมใต้สมอง ตา หูชั้นใน และไขสันหลัง ตรวจหาความผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่าง ๆรวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อ เข่าทรวงอก หัวใจ ช่องท้อง เส้นเลือดทั่วร่างกาย

  4. ตอบโดย พ.ญ.กนกพร ชุติวงศ์ธนะพัฒน์ รังสีแพทย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก

  1. การทำ MRI ในแต่ละครั้งมักจะใช้เวลาในการตรวจครึ่งชม.ขึ้นไป โดยตลอดเวลาในการตรวจนั้น เด็กจำเป็นจะต้องนอนนิ่ง ๆ อยู่ในเครื่อง MRI เพื่อให้ได้ภาพการตรวจด้วยMRI มีความชัดเจน มากที่สุด

  2. สำหรับเด็กที่อาจจะยังไม่สามารถควบคุมตัวเองได้คงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในการตรวจในบางกรณีจึงมีความจำเป็นต้องใช้ยานอนหลับหรือการดมยาสลบเพื่อให้การตรวจเป็นไปด้วยความราบรื่น ในการที่จะให้ยาในเด็กนั้น จะต้องมีการเซ็นยินยอมจากตัวผู้ปกครองของเด็กเสียก่อนดังนั้นผู้ปกครองของเด็กที่จะเข้ารับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมาด้วยทุกครั้ง

  3. ระบบประสาท เช่น สมอง ต่อมใต้สมอง ตา หูชั้นใน และไขสันหลัง ตรวจหาความผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่าง ๆรวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อ เข่าทรวงอก หัวใจ ช่องท้อง เส้นเลือดทั่วร่างกาย

  4. ตอบโดย พ.ญ.กนกพร ชุติวงศ์ธนะพัฒน์ รังสีแพทย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก

  1. การทำ MRI ในแต่ละครั้งมักจะใช้เวลาในการตรวจครึ่งชม.ขึ้นไป โดยตลอดเวลาในการตรวจนั้น เด็กจำเป็นจะต้องนอนนิ่ง ๆ อยู่ในเครื่อง MRI เพื่อให้ได้ภาพการตรวจด้วยMRI มีความชัดเจน มากที่สุด

  2. สำหรับเด็กที่อาจจะยังไม่สามารถควบคุมตัวเองได้คงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในการตรวจในบางกรณีจึงมีความจำเป็นต้องใช้ยานอนหลับหรือการดมยาสลบเพื่อให้การตรวจเป็นไปด้วยความราบรื่น ในการที่จะให้ยาในเด็กนั้น จะต้องมีการเซ็นยินยอมจากตัวผู้ปกครองของเด็กเสียก่อนดังนั้นผู้ปกครองของเด็กที่จะเข้ารับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมาด้วยทุกครั้ง

  3. ระบบประสาท เช่น สมอง ต่อมใต้สมอง ตา หูชั้นใน และไขสันหลัง ตรวจหาความผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่าง ๆรวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อ เข่าทรวงอก หัวใจ ช่องท้อง เส้นเลือดทั่วร่างกาย

  4. ตอบโดย พ.ญ.กนกพร ชุติวงศ์ธนะพัฒน์ รังสีแพทย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก

  1. การทำ MRI ในแต่ละครั้งมักจะใช้เวลาในการตรวจครึ่งชม.ขึ้นไป โดยตลอดเวลาในการตรวจนั้น เด็กจำเป็นจะต้องนอนนิ่ง ๆ อยู่ในเครื่อง MRI เพื่อให้ได้ภาพการตรวจด้วยMRI มีความชัดเจน มากที่สุด

  2. สำหรับเด็กที่อาจจะยังไม่สามารถควบคุมตัวเองได้คงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในการตรวจในบางกรณีจึงมีความจำเป็นต้องใช้ยานอนหลับหรือการดมยาสลบเพื่อให้การตรวจเป็นไปด้วยความราบรื่น ในการที่จะให้ยาในเด็กนั้น จะต้องมีการเซ็นยินยอมจากตัวผู้ปกครองของเด็กเสียก่อนดังนั้นผู้ปกครองของเด็กที่จะเข้ารับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมาด้วยทุกครั้ง

  3. ระบบประสาท เช่น สมอง ต่อมใต้สมอง ตา หูชั้นใน และไขสันหลัง ตรวจหาความผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่าง ๆรวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อ เข่าทรวงอก หัวใจ ช่องท้อง เส้นเลือดทั่วร่างกาย

  4. ตอบโดย พ.ญ.กนกพร ชุติวงศ์ธนะพัฒน์ รังสีแพทย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก

  1. การทำ MRI ในแต่ละครั้งมักจะใช้เวลาในการตรวจครึ่งชม.ขึ้นไป โดยตลอดเวลาในการตรวจนั้น เด็กจำเป็นจะต้องนอนนิ่ง ๆ อยู่ในเครื่อง MRI เพื่อให้ได้ภาพการตรวจด้วยMRI มีความชัดเจน มากที่สุด

  2. สำหรับเด็กที่อาจจะยังไม่สามารถควบคุมตัวเองได้คงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในการตรวจในบางกรณีจึงมีความจำเป็นต้องใช้ยานอนหลับหรือการดมยาสลบเพื่อให้การตรวจเป็นไปด้วยความราบรื่น ในการที่จะให้ยาในเด็กนั้น จะต้องมีการเซ็นยินยอมจากตัวผู้ปกครองของเด็กเสียก่อนดังนั้นผู้ปกครองของเด็กที่จะเข้ารับการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมาด้วยทุกครั้ง

  3. ระบบประสาท เช่น สมอง ต่อมใต้สมอง ตา หูชั้นใน และไขสันหลัง ตรวจหาความผิดปกติของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กระดูกส่วนต่าง ๆรวมทั้งการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นบริเวณข้อกระดูก เช่น ข้อ เข่าทรวงอก หัวใจ ช่องท้อง เส้นเลือดทั่วร่างกาย

  4. ตอบโดย พ.ญ.กนกพร ชุติวงศ์ธนะพัฒน์ รังสีแพทย์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็ก